วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

         ปัจจุบันในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีสายการผลิตด้วยเครื่องจักรกลประเภทหุ่นยนต์ซึ่งนับว่าเป็นเครื่องจักรกลอัตโนมัติในสายการผลิตที่จำเป็นอย่างยิ่งแต่หุ่นยนต์ในโรงงานเหล่านี้ยังแยกอยู่คนละแผนกหรือบริเวณกับมนุษย์อย่างชัดเจนทำหน้าที่ยกหรือประกอบของหนักทำงานซ้ำๆ กัน ตามคำสั่งที่โปรแกรมมันไว้ล่วงหน้าในขณะที่มนุษย์จะทำงานในส่วนที่ละเอียดอ่อนกว่าและอันตรายน้อยกว่า
แต่ในโรงงานแห่งอนาคต มันจะไม่เป็นอย่างนั้นเราจะเห็นมนุษย์กับหุ่นยนต์ทำงานเคียงคู่กัน และช่วยเหลือกันด้วยซ้ำหุ่นยนต์จะช่วยมนุษย์ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของมนุษย์ที่จะทำได้ เช่น งานประกอบที่เล็กและละเอียดจนมนุษย์ อาจจะเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย ยกตัวอย่างเช่น ในโรงงานผลิตเครื่องบินของ Boeingหุ่นยนต์ช่วยวิศวกรในการจัดเตรียมหาเครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในการประกอบเครื่องบิน ทำให้ลดเวลาในการทำงานเพราะวิศวกรไม่ต้องเสียเวลาเดินไปหยิบชิ้นส่วนเหล่านั้นเองเพราะต้องยอมรับว่างานประกอบบางอย่างซับซ้อน และต้องการประสบการณ์ในการตัดสินใจแก้ปัญหาจึงเป็นการยากที่หุ่นยนต์จะทำงานเช่นนั้นได้แต่หุ่นยนต์สามารถเป็นผู้ช่วยหรือลูกมือที่ดีได้





หุ่นยนต์กู้ระเบิด
          ในปัจจุบันมีเหตุกำรณ์ก่อควำมไม่สงบ โดยเฉพำะกำรก่อควำมไม่สงบโดยกำรวำง ระเบิดใน 3 จังหวัดชำยแดนภำคใต้และหลำยพื้นที่ เจ้ำหน้ำที่ต ำรวจ ทหำร ชุดเก็บกู้และท ำลำย วัตถุระเบิดที่ได้รับมอบหมำยให้ปฏิบัติหน้ำที่ดังกล่ำว ซึ่งในกำรเก็บกู้แต่ละครั้งเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติ มี ควำมเสี่ยงอันตรำยสูงในกำรเก็บกู้ซึ่งอำจเกิดกำรสูญเสียได้ทุกขณะ หน่วยงำนที่รับผิดชอบต่ำง จัดสรรอุปกรณ์ ที่สำมำรถปฏิบัติภำรกิจแทนมนุษย์โดยแต่ละหน่วยได้จัดหำหุ่นยนต์ใช้ในภำรกิจ เก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดมำประจ ำกำรในหน่วยของตน แต่ซึ่งด้วยหุ่นยนต์ดังกล่ำวมีรำคำ ค่อนข้ำงสูงประกอบกับงบประมำณในกำรจัดหำที่จ ำกัด ดังนั้นชุดเก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิด กองก ำกับกำร 3 กองบังคับกำรฝึกพิเศษ กองบัญชำกำรต ำรวจตระเวนชำยแดน ได้เล็งเห็นและ ตระหนักถึงปัญหำดังข้ำงต้นจึงได้จัดท ำ นวัตกรรม หุ่นยนต์เก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดขึ้นเพื่อใช้ ในกำรปฏิบัติหน้ำที่และสนับสนุนให้หน่วยงำนอื่น ที่ท ำหน้ำที่เก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดด้วย ภำยใต้งบประมำณที่จ ำกัดแต่ประสิทธิภำพและควำมสำมำรถเทียบเท่ำหุ่นยนต์ซึ่งมีรำคำแพงและ น ำเข้ำจำกต่ำงประเทศ












หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์
       วิทยาการหุ่นยนต์ เป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิต และการประยุกต์ใช้งานหุ่นยนต์วิทยาการหุ่นยนต์เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์, กลศาสตร์, และซอฟต์แวร์
ระบบสมองกลที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่หรือการเดินของหุ่นยนต์ในขั้นต้น คือ การเดินแบบสถิตย์ หรือการเคลื่อนที่โดยอาศัยจุดศูนย์ถ่วงที่อยู่ภายในพื้นที่ครอบคลุมบริเวณขา ทั้ง 2 ข้างของหุ่นยนต์ จากนั้นจึงเป็นการพัฒนาเป็นรูปแบบการเดินแบบจลน์หรือการเคลื่อนที่โดยอาศัย จุดศูนย์ถ่วงที่อยู่นอกพื้นที่ครอบคลุมของขาทั้ง 2 ข้างซึ่งเป็นรูปแบบการเดินของมนุษย์ตามลำดับ ซึ่งทีมวิศวกรได้ทำการศึกษาวิจัยและพัฒนาตามข้อมูลที่ทำการทดลองและจดบันทึก เป็นฐานข้อมูลจากการทดลองรูปแบบการเคลื่อนที่ของมนุษย์ทีมวิศวกรได้คำนึงถึง องค์ประกอบสำคัญ 3 อย่างในการพัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ให้สามารถเดินได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คือ
  1. การพัฒนาความเร็วในการเคลื่อนที่ไปด้านหน้าของหุ่นยนต์
  2. การเพิ่มเติมในระดับถัดไปของร่างกาย เช่น แขน มือและศีรษะ
  3. การพัฒนาความสามารถในการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ เช่นการก้าวเดินขึ้นลงบันได หรือการวิ่ง








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สมาชิกการจัดการ

สมาชิกในชั้นเรียน   อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค  อาจารย์ปาล์ม 1. เกียรติศักดิ์ เกตุอักษร ไฟล์ 2. นายจรณะ แท่งทอง เปา 3. นางสาวเฉลิมพร ศร...